วันพุธที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2553

รัฐบาลไทย(คณะรัฐมนตรี)









คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 (17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม คณะรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ 1 (ครม. อภิสิทธิ์ 1) [1]














นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองกา


รายชื่อคณะรัฐมนตรี
ประธานคณะกรรมการราษฎรพระยามโนปกรณ์นิติธาดา(ก้อน หุตะสิงห์)นายกรัฐมนตรีคนที่ 1





พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา(พจน์ พหลโยธิน)นายก รัฐมนตรีคนที่ 2



คณะรัฐมนตรีชุดที่ 4 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 5 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 6 22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 7 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 8 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481


จอมพล ป. พิบูลสงคราม(แปลก พิบูลสงคราม)นายก รัฐมนตรีคนที่ 3


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 10 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 -1 สิงหาคม พ.ศ. 2487




พันตรี ควง อภัยวงศ์(หลวงโกวิทอภัยวงศ์)นายก รัฐมนตรีคนที่ 4


คณะรัฐมนตรีชุดที่ 11 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488




นายทวี บุณยเกตุนายกรัฐมนตรีคนที่ 5


คณะ รัฐมนตรีชุดที่ 12 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 - 17 กันยายน พ.ศ. 2488








หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชนายกรัฐมนตรีคนที่ 6















คณะ รัฐมนตรีชุดที่ 13 17 กันยายน พ.ศ. 2488 - 31 มกราคม พ.ศ. 2489















นตรี ควง อภัยวงศ์(หลวงโกวิทอภัยวงศ์)นายก รัฐมนตรีคนที่ 4 (ครั้งที่ 2)







คณะรัฐมนตรีชุดที่ 14 31 มกราคม พ.ศ. 2489 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2489

ปรีดี พนมยงค์(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)นายก รัฐมนตรีคนที่ 7





คณะรัฐมนตรีชุดที่ 15 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489






คณะรัฐมนตรีชุดที่ 16 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489











พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์(หลวงธำรงนาวา สวัสดิ์)นายกรัฐมนตรีคนที่ 8












คณะรัฐมนตรีชุดที่ 17 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490






คณะรัฐมนตรีชุดที่ 18 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490





















พันตรี ควง อภัยวงศ์(หลวงโกวิทอภัยวงศ์)นายก รัฐมนตรีคนที่ 4 (กลับมาครั้งที่ 3)










คณะรัฐมนตรีชุดที่ 19 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 21 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2491





คณะรัฐมนตรีชุดที่ 20 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 เมษายน พ.ศ. 2491















จอมพล ป. พิบูลสงคราม(แปลก พิบูลสงคราม)นายก รัฐมนตรีคนที่ 3 (กลับมาครั้งที่ 2)








คณะรัฐมนตรีชุดที่ 21 8 เมษายน พ.ศ. 2491 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492




คณะรัฐมนตรีชุดที่ 22 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494




คณะรัฐมนตรีชุดที่ 23 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494




คณะรัฐมนตรีชุดที่ 24 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2495




คณะรัฐมนตรีชุดที่ 25 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2500




คณะรัฐมนตรีชุดที่ 26 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 16 กันยายน พ.ศ. 2500








คณะปฏิวัติ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 21 กันยายน พ.ศ. 2500











นายพจน์ สารสินนายกรัฐมนตรีคนที่ 9






คณะ รัฐมนตรีชุดที่ 27 21 กันยายน พ.ศ.2500 - 1 มกราคม พ.ศ. 2501



จอมพลถนอม กิตติขจรนายกรัฐมนตรีคนที่ 10




จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11

จอมพลถนอม กิตติขจรนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 (กลับมาครั้งที่ 2)

นายสัญญา ธรรมศักดิ์นายกรัฐมนตรีคนที่ 12

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชนายกรัฐมนตรีคนที่ 6 (กลับมาครั้งที่ 2)




หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชนายกรัฐมนตรี คนที่ 13




หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชนายกรัฐมนตรีคนที่ 6 (กลับมาครั้งที่ 3)



นายธานินทร์ กรัยวิเชียรนายกรัฐมนตรีคนที่ 14

พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์นายกรัฐมนตรีคนที่ 15






พลเอก เปรม ติณสูลานนท์นายกรัฐมนตรีคนที่ 16



พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณนายกรัฐมนตรีคนที่ 17



นายอานันท์ ปันยารชุนนายกรัฐมนตรีคนที่ 18



พลเอก สุจินดา คราประยูรนายมีชัย ฤชุพันธุ์ (ปฏิบัติราชการแทน)






นายอานันท์ ปันยารชุนนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 (กลับมาครั้งที่ 2)




นายชวน หลีกภัยนายกรัฐมนตรีคนที่ 20






นายบรรหาร ศิลปอาชานายกรัฐมนตรีคนที่ 21






พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธนายกรัฐมนตรีคนที่ 22

นายชวน หลีกภัยนายกรัฐมนตรีคนที่ 22 (กลับมาครั้งที่ 2)







พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตรนายก รัฐมนตรีคนที่ 23






พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์นายกรัฐมนตรีคนที่ 24






นายสมัคร สุนทรเวชนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ (ปฏิบัติราชการแทน)นายกรัฐมนตรีคนที่ 25




นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล (ปฏิบัติราชการแทน)นายกรัฐมนตรีคนที่ 26










นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27
















































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































วันศุกร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553

เรื่อง รัฐสภาไทย





















รัฐสภาไทย


รัฐสภาไทย
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ในระบบรัฐสภา
(Parliamentary System) ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ (Bicameral
System)
คือรัฐสภา ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
มีสมาชิกรวมจำนวนทั้งสิ้น
630 คน

1. โครงสร้าง องค์ประกอบและที่มาของสมาชิกรัฐสภา
แบ่งนำเสนอโครงสร้าง องค์ประกอบและที่มาของสมาชิกรัฐสภา
เป็น 2 ส่วน ตามโครงสร้างของรัฐสภา ดังนี้


1.1 สภาผู้แทนราษฎร
ประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท จำนวนรวม 480 คน ดังนี้
ประเภทแรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จำนวน
400 คน
ทั้งนี้

โดยแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นเขตละไม่เกิน 3 คน และผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง

ผู้สมัครรับเลือกตั้งได้เท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีได้ในเขตเลือกตั้งนั้น


ประเภทที่สอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จำนวน 80 คน
ทั้งนี้ โดยแบ่งเขต เลือกตั้งเป็น 8 กลุ่มจังหวัด

ให้แต่ละกลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง และแต่ละเขตให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 10 คน ทั้งนี้

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกพรรคการเมืองที่จัดทำบัญชีรายชื่อ
ผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นได้ 1 เสียง


ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550
คณะกรรมการการเลือกตั้งได้พิจารณากำหนดเขตเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
เป็น 157 เขต

ส่วนการเลือกตั้งแบบสัดส่วนนั้น แบ่งเขตเลือกตั้งเป็น 8 เขต เลือกตั้ง ตามกลุ่มจังหวัด 8 กลุ่ม


1.2 วุฒิสภา
ประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท จำนวนรวม 150 คน

ซึ่งสมาชิกวุฒิสภา มาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน

เเละมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการ
เลือกตั้ง ดังนี้


ประเภทแรก สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด
จังหวัดละ 1 คน ฉะนั้นเมื่อมีจังหวัด 76 จังหวัด จึงมีสมาชิกวุฒิสภาประเภทนี้
รวมจำนวน 76 คน
ประเภทที่สอง สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน

ทั้งนี้ โดยให้คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ดำเนินการสรรหาและคัดเลือกจากบัญชีรายชื่อ

ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งรวบรวมมาจากการเสนอชื่อขององค์กรในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน

ภาควิชาชีพ และภาคอื่นที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา

ซึ่งต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับบัญชีรายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง


ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วยประธาน
ศาลรัฐธรรมนูญ ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการ


ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและเขต
เลือกตั้งของแต่ละจังหวัดสำหรับการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ลงวันที่ 17 ตุลาคม
พ.ศ.2550 และประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดเขตเลือกตั้งสำหรับการ
เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน ลงวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2550


ตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกาที่ที่ประชุมใหญ่ ศาลฎีกามอบหมาย จำนวน 1 คน และตุลาการในศาลปกครองสงูสดุ ทที่ ปี่ ระชมุ ใหญศ่ าลปกครองสงูสดุ มอบหมาย จำนวน 1 คน 2
ระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา รวมทั้งกระบวนการคัดเลือกและแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภานั้น ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และการได้มาซึ่ง
สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550
นอกจากมีความแตกต่างกันในส่วนของโครงสร้าง องค์ประกอบ และที่มาดังกล่าวข้างต้นแล้ว

ในส่วนของคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของ
ผู้สมัครรับเลือกตั้ง รวมทั้งการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ก็มีความแตกต่างกัน โดยสรุปแล้วรัฐธรรมนูญกำหนดให้
สมาชิกวุฒิสภามีคุณวุฒิสูงกว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา
ต้องไม่สังกัดหรือเกี่ยวข้อง หรือต้องเป็นอิสระและปลอดจากการเมือง ดังที่
ปรากฎในบทบัญญัติรัฐธรรมนูญมาตราต่างๆ
บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภา
ผู้แทนรา


1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2) มีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
3) เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่เพียง


2. อำนาจหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
แม้ว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา จะมีที่มาที่แตกต่างกัน

บางส่วนมาจากการสรรหาและแต่งตั้ง และแม้ในส่วนที่มาจากการเลือกตั้งก็เป็นการเลือกตั้งที่แตกต่างกัน กล่าวคือ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็
แบ่งเป็น 2 แบบ คือการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและการเลือกตั้งแบบ
สัดส่วน ในขณะที่การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาก็เป็นอีกระบบหนึ่ง
แต่รัฐธรรมนูญได้กำหนดรับรองสถานะของสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด ไม่ว่า
จะมาจากการเลือกตั้งในระบบใด หรือมิได้มาจากการเลือกตั้งก็ตาม ให้สมาชิก
สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเป็น “ผู้แทนปวงชนชาวไทย”
ไม่อยู่ใน
ความผูกมัดแห่งอาณัติ มอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติ
หน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของปวงชนชาวไทย
อย่างไรก็ตาม เพื่อให้สมาชิกรัฐสภาได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ “สภาล่าง”
และ “สภาบน”
ได้อย่างสอดคล้องกับหลักการปกครองในระบบรัฐสภา
รัฐธรรมนูญกำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาไว้
แตกต่างกัน ดังจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไปนี้
2.1 สภาผู้แทนราษฎร
สภาผู้แทนราษฎรในฐานะ “สภาล่าง” มีบทบาทอำนาจหน้าที่หลัก 4 ด้าน
ได้แก่


(1) ด้านนิติบัญญัติ
(2) ด้านควบคุมตรวจสอบการบริหารราชการแผ่นดิน
(3) ด้านการเป็นผู้แทนของปวงชนชาวไทย
(4) ด้านการพิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องต่างๆ

ทั้งนี้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

(1) ด้านนิติบัญญัติ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในฐานะเป็นสภาล่างมีอำนาจหน้าที่หลักใน
ด้านนิติบัญญัติ ดังนี้
(1.1) เสนอร่างพระราชบัญญัติและร่างพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญ7 โดยที่
(1.1.1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 20 คน
ร่วมกันเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติเพื่อให้รัฐสภา
พิจารณาให้ความเห็นชอบได้
(1.1.2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน10ของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

ทั้งนี้ กรณีเป็นร่างพระราชบัญญัติที่เกี่ยวด้วยการเงิน จะเสนอได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากนายกรัฐมนตรี
(1.2) พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราช-
บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ และร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราช-
บัญญัติและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 8
(1.3) พิจารณาอนุมัติพระราชกำหนด ซึ่งเมื่อมีการประกาศใช้
บังคับพระราชกำหนดแล้ว ให้คณะรัฐมนตรีเสนอพระราช-กำหนดนั้นต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาโดยไม่ชักช้า หากสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่อนุมัติ

พระราชกำหนดนั้นก็ตกไปโดยไม่ต้องส่งให้วุฒิสภาพิจารณา แต่ถ้าสภาผู้แทนราษฎรอนุมัติแล้วส่งให้วุฒิสภาพิจารณา วุฒิสภาไม่อนุมัติ ให้ส่งกลับไปยัง
สภาผู้แทนราษฎรเพื่อยืนยันการอนุมัติอีกครั้ง หากสภาผู้แทนราษฎรมีมติยืนยันด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
ให้พระราชกำหนดมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติต่อไป 9
(1.4) การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 10
(1.4.1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับสมาชิก